ผู้ดูแลที่อยู่กับความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยของเด็กป่วยเฉียบพลัน ส่งผลด้านลบต่อการเผชิญความเครียด การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่ออธิบายความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย การเผชิญความเครียด และความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจงคือ ผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันอายุ 1 เดือน ถึง 6 ปี ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2561 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2562 จ�านวน 85 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดความรู้สึกไม่แน่นอนเกี่ยวกับความเจ็บป่วยเฉียบพลันในเด็กของบิดามารดา และแบบสอบถามการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน ค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือ เท่ากับ 0.83 และ 0.80 ตามล�าดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา คะแนนสัมพัทธ์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมนผลการศึกษาพบว่า1. ผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยของเด็กโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( x_ = 74.72, SD= 17.72) และความรู้สึกไม่แน่นอนรายด้านคือ 1. ความคลุมเครือเกี่ยวกับความรุนแรงของความเจ็บป่วย ( x_ = 21.21, S.D.= 5.37) 2. การไม่สามารถทำนายการดำเนินของโรค ( x_ = 15.19, S.D.= 4.18) 3. ความไม่ชัดเจนเกี่ยวกับการจัดการที่เหมาะสม ( x_ = 14.13, S.D.=4.77) 4. การขาดข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุความเจ็บป่วย ( x_ = 12.95, S.D.=3.18) 5. ความต่างของการตัดสินใจกับบุคลากรทีมสุขภาพ ( x_ = 11.23, S.D.=3.65) มีค่าเฉลี่ยคะแนนอยู่ในระดับปานกลาง2. ผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันใช้วิธีการเผชิญความเครียดมากกว่าหนึ่งวิธีและวิธีที่ใช้มากที่สุดคือ การเผชิญกับปัญหา (คะแนนสัมพัทธ์เท่ากับ 0.43) รองลงมาคือ การแก้ไขปัญหาทางอ้อม (คะแนนสัมพัทธ์ เท่ากับ 0.36) และการจัดการกับอารมณ์ (คะแนนสัมพัทธ์ เท่ากับ 0.20) ตามลำดับ 3. ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันมีความสัมพันธ์กับการเผชิญปัญหาทางลบในระดับปานกลางอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (r = - 0.33, p < .05) ผลการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าพยาบาลควรตระหนักถึงความส�าคัญของความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยของผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันเพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลเด็กพัฒนาวิธีการเผชิญความเครียดที่เหมาะสม Postpartum weight retention is the increase in body weight following childbirth when compared to before pregnancy, which can have a negative effect on the physiology and psychology of postpartum mothers. The purpose of this descriptive correlation study was to explore the relationship between physical activity, dietary quality, breastfeeding, and weight retention, among 6 month postpartum mothers. The participants consisted of 102 six month postpartum mothers who were sampled randomly, had a greater postpartum weight than pre-pregnancy weight, and who brought their babies to receive vaccinations in the OutpatientPediatric Department of Phramongkutklao Hospital, and the Well Child Clinic at Queen Sirikit National Institute of Child Health, between October 2014 and May 2015. The research instruments used included the physical activity questionnaire modified from the pregnancy physical activity questionnaire of Bungorn Supavititpatana (Supavititpatana, 2010),by the researcher, a 24-hour dietary recall report form, and a breastfeeding questionnaire which the researcher developed from Baker et al. (2008). Data were analyzed using descriptivestatistics and Pearson’s product moment correlation.The results of this study were as follows: The proportion of participants who had a low physical activity level was 77.45 percent. The proportion of participants who had an appropriate diet was 59.80 percent. The proportion of participants who had exclusively breastfed for 6 months after childbirth was 47.06 percent. The proportion of participants who had a 6 month postpartum weight greater than or equal to 5 kilograms more than their pre-pregancy weight, was 35.29 percent. Physical activity had no correlation with 6-month postpartum weight retention. Dietary quality had a significantly high positive correlation with postpartum weight retention (r=.714, p=<.01). Breastfeeding had a significantly low negative correlation with postpartum weight retention (r=-.220, p=<.05).The results of this study indicate that programs should be provided which promote knowledge of dietary quality and breastfeeding in relation to postpartum mothers in order to prevent postpartum weight retention.