ข้อมูลกระบวนวิชา |
รหัสวิชา Course No |
562700 |
ชื่อวิชา Title |
แนวคิดและทฤษฎีทางการพยาบาล : Concepts and Theories in Nursing |
กลุ่มกระบวนวิชา Department |
กระบวนวิชากลาง - วิชาเลือก |
หน่วยกิต Credit |
2 (2,0,0) |
ภาคเรียนที่ Semester |
1 |
ปีการศึกษา Academic Year |
2560 |
รหัสวิชาที่ต้องผ่านก่อน
Pre-requisite |
ไม่มี |
ประเภทวิชา |
บังคับ |
ลักษณะกระบวนวิชา
Course Description |
ความหมาย องค์ประกอบ ระดับและความสำคัญของทฤษฎีและศาสตร์ทางการพยาบาล การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าทฤษฎีการพยาบาล ทฤษฎีการพยาบาลที่เลือกสรร การใช้ทฤษฎีการพยาบาลในการปฏิบัติ การใช้ทฤษฎีการพยาบาลในการวิจัย ทฤษฎีพฤติกรรมสุขภาพ ทฤษฎีด้านจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาล ประเด็นและแนวโน้มเกี่ยวกับการใช้ทฤษฎีการพยาบาล |
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
Learning Objective |
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงความหมายและองค์ประกอบของทฤษฎี ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทฤษฎีและศาสตร์ทางการพยาบาล ทฤษฎีการพยาบาลที่เลือกสรร แนวคิด รูปแบบเชิงแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน และทฤษฎีด้านจิตสังคมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาล การวิเคราะห์และประเมินทฤษฎี วิเคระห์ประเด็นและแนวโน้มที่เกี่ยวกับการพัฒนาและการใช้ทฤษฎีการพยาบาลได้ |
เนื้อหากระบวนวิชา
Course Content |
1. บทนำ: ความหมายและองค์ประกอบของทฤษฎีและทฤษฎีการพยาบาล ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทฤษฎีและศาสตร์ทางการพยาบาล วิวัฒนาการของทฤษฎีการพยาบาล แะประโยชน์ของทฤษฎีการพยาบาล
2. แนวทางการวิเคราะห์และประเมินทฤษฎี
3. ทฤษฎีการพยาบาลที่เลือกสรร
3.1 ทฤษฎีการพยาบาลกกกลุ่ม Totality paradigm (Neuman, Roy, Orem, King)
3.2 ทฤษฎีการพยาบาลกลุุุุุุ่่ม Simultaneity paradigm (Rogers, Newman, Parse', Watson, Leininger)
4. แนวคิด รูปแบบเชิงแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล (Health belief Model, Health Promotion Model, Theory of Reasoned Action, Theory of Planned Behavior, Trans theoretical Model)
5. แนวคิด รูปแบบเชิงแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพของครอบครัว (Family Theory)
6. แนวคิด รูปแบบเชิงแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพของชุมชน (PRECEED and PROCEED Models, Ecological Model)
7. ทฤษฎีความเครียด ทฤษฎีภาวะวิกฤตและทฤษฎีการปรับตัว
8. ประเด็นและแนวโน้มที่เกี่ยวกับการพัฒนาและการใช้ทฤษฎีการพยาบาล |
ลักษณะการเรียนการสอน
Learning Activities |
1. การบรรยาย
2. การอภิปราย
3. การทำรายงานและนำเสนอรายงาน
4. การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง |
ตำราหลัก
Textbook |
Alligood, M.R., & Tomey, A.M. (2002). Nursing theory: Utilization and
application. St. Loius: Mosby.
Chinn, P.L., & Kramer, M. K. (1995). Theory and nursing: A system
approach (4th ed.). St. Loius: Mosby Year Book.
Fawcett, J. (2000). Analysis and evaluation of contemporary nursing
knowledge: Nursing models and theories. Philadelphia: F.A. Davis.
Friedman, M.M. (2003). Family nursing: Theory and practice (3rd ed.).
Norwalk, CT: Appleton & Lange.
Raczynski, J. M., & DiClemente, R.J. (1999). Handbook of health
promotion and disease prevention. New York: Kluwer Academic. |
สื่อการสอนประกอบ
Teaching Media |
เอกสารประกอบการสอน และตัวอย่างกรณีศึกษา |
วิธีวัดและประเมินผล Evaluation |
1. การทำรายงานการวิเคราะห์และประเมินทฤษฎีการพยาบาล 30%
2. การทำรายงานการวิเคราะห์การใช้ทฤษฎีในการปฏิบัติ 50%
3. การเสนอรายงาน 10 %
4. การอภิปรายในชั้นเรียน 10%
|
คะแนนเก็บ Assignment Score |
|
คะแนนสอบกลางภาค
Midterm Exam Score |
|
คะแนนสอบปลายภาค
Final Exam Score |
|
คะแนนอื่น Other Score |
|
วันเวลาสอบกลางภาค (ครั้งที่ 1)
Midterm Exam Date 1 |
|
วันเวลาสอบกลางภาค (ครั้งที่ 2)
Midterm Exam Date 2
|
|
วันเวลาสอบกลางภาค (ครั้งที่ 3)
Midterm Exam Date 3 |
|
วันเวลาสอบปลายภาค
Final Exam Date |
|